The Comparison Achievement and Self - Directed Learning and Traditional Subject Title Heredity
Main Article Content
Abstract
The purpose of this study were to 1) Develop self directed learning on web based that develop the Heredity subject of grade 9 students that 80/80 performance basis. 2) The comparison achievement between Self - directed learning on web based and traditional on the Heredity subject. 3) The comparison after of Self - directed learning skills of the Heredity subject of a grade 9 students. The Sample group is 70 students who were study in grade 9 secondary school in Nongphokwittayalai school in term 1 of academic year 2016 by random group to two groups that 35 students are experimental group and 35 students are control group. The research tools is self directed learning on web based on the heredity science. Achievement is 30 items multiple choices, 25 items self learning skill assessment and the satisfaction assessment. The data were analyzed using statistical averages, standard deviation and t-test (Independent Samples).
It was found that 1) The Self - directed learning on web based Shown affect performance on 82.29/81.71 2) Sample group and control group had Self-Directed skills The achievement scores 0.05. 3) The sample group and control Group showed statistical, signnificant differences at 0.05 level.
Downloads
Article Details
References
กนกวรรณ ภิญโญศรี (2552). การเปรียบเทียบการเรียนรู้วิชากิจกรรมเข้าจังหวะ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุข ศึกษาและพละศึกษา ระหว่างการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนเครือข่ายกับการเรียนแบบปกติที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความคิดสร้างสรรค์ทางกิจกรรมเข้าจังหวะและเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม..
ญาณิน สุดสวนสี (2553). ผลการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บกับการเรียนแบบปกติที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษด้านการอ่านอ่านเพื่อการสื่อสารและวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
ไตรภพ จันทร์ศรี (2553). ผลการเรียนโดยใช้บทเรียนบนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นัดดา อังสุโวทัย (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบการนำตนเองของนักเรียนในระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ประมวล ศิริผันแก้ว. สสวท. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2546.
มิสขนิษฐา สินฐวิชัย. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องแรงโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 5E. วิจัยในชั้นเรียน/วิจัยเชิงปฏิบัติการ. โรงเรียนอัสสัมชันแผนกประถม เขตสาทร กรุงเทพมหานคร. http://swis.acp.ac.th/html_edu/acp/temp_research/103.pdf
สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (2558). ผลคะแนน Admission 2558. เว็บไซต์ http://admission58.wordpress.com.
สยาม นามสน (2557). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้วยบทเรียนบนเว็บกับการเรียนแบบปกติ เรื่องการสร้างเว็บเพจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ภาควิชเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำลี รักสุทธี (2544). เทคนิคการเรียนการสอนและการเขียนแผนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
แสงเดือน เจริญฉิม (2555). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุรเดช พรมมา (2535). การเปรียบเทียบด้วยบทเรียนเว็บบล็อกกับการเรียนแบบปกติ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ และความคงทนในการเรียนรู้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีระดับการนำตนเองในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.