การพัฒนาการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตีมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนให้มีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตีมศึกษา แบบทดสอบการคิดเชิงออกแบบ และแบบสังเกตพฤติกรรมการคิดเชิงออกแบบ ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า ในวงรอบที่ 1 นักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงออกแบบเฉลี่ยเท่ากับ 13.4 คิดเป็นร้อยละ 67 มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 คน และไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 คน ในวงรอบที่ 2 ได้พัฒนาและปรับปรุงแก้ไขจากวงรอบที่ 1 พบว่า นักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงออกแบบเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเท่ากับ 17.2 คิดเป็นร้อยละ 86 โดยนักเรียนผ่านเกณฑ์ทั้งหมด
Downloads
Article Details
References
กนกทิพย์ ยาทองไชย. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่อง ปิโตรเลียมและพลังงานทดแทนเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาเคมี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัฐพล โยธาธิติกุล. (2558). การเพิ่มการมีส่วนร่วมของนักเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องการเจริญเติบโตหลังการปฏิสนธิของพืชดอก. สะเต็มประเทศไทย-นวัตกรรมการศึกษาไทย (หน้า 113), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีประสาท เนื่องเฉลิม. (256 1). วิจัยปฏิบัติการทางการเรียนการสอน. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
ปาริชาติ ประเสริฐสังข์ (2556).การออกแบบกิจกรรมสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 6(3), 383-394.
มานิตย์ อาษานอก. (2561). การบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,7(1), 6-12.
วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การบูรณาการในนิยามเบื้องต้นของสะเต็มศึกษา.
วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(2), 313-317.
ศศิมา สุขสว่าง. (2560). Design Thinking คืออะไร สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.sasimasuk.com/16886644/design-thinking-%E0%B8%84%E0%B8%B7%
E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3?fbclid=Iw
Iw1QVXMreYtrOccTVuApEDTAGZUhHIVunD_C3wCiY3R-RbHwelQYhgmbY80.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). ความรู้เบื้องต้นสะเต็ม. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ.
ไสว ฟักขาว. (2561). การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
อโนดาษ์ รัชเวทย์ ฐิชินีปกรณ์ สมแก้ว และปภาวี อุปธิ. (2558), การพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 โดยชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(3), 226-238.
เอกชัย พุทธสอน และสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2557). แนวโน้มการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 สำหรับนักศึกษาผู้ใหญ่. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(4), 93-106.
Chung, CJ., Cartwright, C. & Cole, M. (2014). Assessing the Impact of an Autonomous Robotics Competition for STEM Education. Journal of STEM Education, 15(2).
Camacho, M. (2016). David Kelley: From Design to Design Thinking at Stanford and IDEO. she ji The Journal of Design, Economics, and Innovation, 2(1), 88-101.
d.school. (n.d.). Welcome to the Virtual Crash Course in Design Thinking. Retrieved 17November 2020, from: http://dschool.stanford.edu/dgift/.
Kemmis, S. & McTaggart, R. (1988). The Action Research Planer. Victoria: Deakin University.
Yakman. (2014). STEAM Education: an overview of creating a model of integrativeEducation. [Online]. Available from:www.iteaconnect.org/Conference/PATT/PATT19/
Yakmanfinal 19.pdf. [accessed 21 November 2020].