การพัฒนาผลการเรียนรู้และเจตคติต่อการเรียนนาฏศิลป์ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้ นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประกอบการเรียนแบบร่วมมือของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

Main Article Content

ชัญญภัทร ภัคพิพัฒน์สกุล
พิจิตรา ธงพานิช
นิราศ จันทรจิตร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1)เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้รายวิชานาฏศิลป์ตามแนวคิดนาฏศิลป์สร้างสรรค์เรื่องทักษะพื้นฐานและการฝึกการแสดงนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชานาฏศิลป์ เรื่อง ทักษะพื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดนาฏศิลป์สร้างสรรค์(3)เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์สร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนคำตากล้าราชระชาสงเคราะห์


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ 5 แผน 10 ชั่วโมง (2) แบบประเมินผลการเรียนรู้ทางการเรียน (3) แบบประเมินเจตคติการเรียนรู้ตามแนวคิดนาฏศิลป์สร้างสรรค์จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-testdependent)


ผลการวิจัยพบว่า


1. ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ประกอบกลุ่มร่วมมือเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ สาระที่ 3 นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 พบว่า ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดประกอบกลุ่มร่วมมือ เท่ากับ 81/86.3 ซึ่งสอดคล้องตามเกณฑ์ 80/80


2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประกอบร่วมกลุ่มร่วมมือเรื่องนาฏศิลป์เบื้องต้นสาระที่3นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


3. ผลการประเมินเจตคติของนักเรียนต่อการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีเจตคติ โดยรวมอยู่ระดับมาก

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรรัตน์ จุลตามละ (2560) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อการเรียนทัศนศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็นฐานประกอบกลุ่มร่วมมือ. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). ความคิดสร้างสรรค์ หลักการทฤษฎีการเรียนการสอนการวัดผล ประเมินผล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

คนึง จารุพงษ์. (2553). การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มและแบบฝึกปฏิบัติภายในชั้นเรียนร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

จิรนันท์ กุญชะโมรินทร์. (2558). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการอ่านออกเสียงและเขียนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ประกอบเกมของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จิตราภรณ์ แก้วดี. (2549). การใช้ชุดการเรียนรู้ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่มการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอนมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

จุฑาพร ศราภัยวานิช. (2558). “การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติในวิชานาฏศิลป์ ระดับ ประถมศึกษาของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนกรุงเทพมหานคร,” วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 10(2). 144-157.

ชุติกาญจน์ รุ่งเรือง. (2552). การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะปฏิบัติ และความคิดสร้างสรรค์วิชา. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

ชุลีพร ปิ่นธนสุวรรณ. (2556). ผลการเรียนแบบอีเลิร์นนิงด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเพื่อการแก้ปัญหา เชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิชาชีพครู. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐวุฒิ กิจรุ่งเรือง และคณะ. (2545). ผู้เรียนเป็นสำคัญและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

ณรงค์ฤทธิ์ เสาร์เจริญ (2555) สภาพและความพึงพอใจในการดำเนินการกิจกรรมดนตรี นาฏศิลป์ไทย และ พื้นบ้าน ตาม แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ของโรงเรียนกลุ่มเชียงคำ 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนวรรณ กันคำ. (2555). การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนพะเยาพิทยาคม จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

ธีราภรณ์ ชูชื่น และศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย. (2558). เรื่องนาฏศิลป์สร้างสรรค์ ไทย-พม่าสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(1).

นพพร แก้มเอี่ยม. (2546). ผลการใช้วีดีทัศน์ เรื่อง “นาฏยศัพท์” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดพิกุลเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์. (2535). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติสำหรับครูวิชา อาชีพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิลมณี พิทักษ์ และ นพณัฐ แสงจารุ. (2554). “การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ประชาธิปไตยโดยใช้กิจกรรม การเรียนรู้ แบบ 4 MAT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, วารศึกษาศาสตร์ฉบับวิจัย บัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. 4 ตุลาคม-ธันวาคม.

บาทหลวงสมเกียรติ จูรอด. (2564). “การจัดการเรียนรู้กับทักษะที่จําเป็นสําหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21,” วารสารภาวนา สารปริทัศน์. 1(1).

ปัทมา ศรขาว. (2540). ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และเจตคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต กรุงเทพ ฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาลภัสสร์ ภู่สากล. (2563). “ผลการเรียนรู้วิชาดนตรี-นาฏศิลป์ เรื่อง การใช้ท่าทางนาฏศิลป์ในการรำวง มาตรฐาน โดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5, วารสารสถาบันวิจัยญาณ สังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. 11(1).

พาณี สีสวย. (2527). สุนทรีของนาฏศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดธนะการพิมพ์

พิจิตรา ธงพานิช. (2564). การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน : The STUDIES Model. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

พิมพ์ชนก ค้ำชู (2555). การวิจัยการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแนวทางคาร์ล ออร์ฟ เพื่อพัฒนาทักษะในรายวิชาดนตรี – นาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2548). วิธีวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.) จำกัด.

พีรพงศ์ เสนไสย. (2546). นาฏยประดิษฐ์ สาขานาฏยศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พลอยณภัทร์ ชมชื่น. (2556). การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์โดยใช้เทคนิคการสอนแบบยูเซ ฟัส เรื่องมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังวาลวิทยา จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ไพโรจน์ คะเชนทร์. (2556). มปป. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. [ออนไลน์], จาก http://www. wattoongpel.com.

ไพลิน อุดมธนาทรัพย์. (2559). การพัฒนาชุดฝึกทักษะ กลุ่มสาระศิลปะ สาระนาฏศิลป์เรื่อง ท่ารำนาฏศิลป์ เบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ไพศาล หวังพานิช. (2551). การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ภพ เลาห์ไพบลูย์. (2544). แนวการสอนวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชย์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มธุรส วงศ์อำไพ. (2553). การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะปฏิบัติ และความคิดสร้างสรรค์ทางนาฏศิลป์ของ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โมเดลซิปปากับการจัดการเรียนรู้ปกติ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต พะเยา : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

มาลินี จุฑะ. (2537). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพ ฯ : อักษรพิพัฒน์.รพ.

มาลา โพธิสว่าง. (2551). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้รูปแบบแผนการเรียนรู้แบบบูรณา การกลุ่มสาระการเรียนศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองจันทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 3. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รุจี ศรีสมบัติ. (2547). สารานุกรมนาฏศิลป์ไทย. กรุงเทพ ฯ : พ.ศ.พัฒนา.

เรณู โกสินานนท์. (2548). นาฏยศัพท์ ภาษาท่านาฏศิลป์. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

. (2545). สืบสานนาฏศิลป์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

ฤชามน ชนาเมธดิสกร. (2560). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์และเจตคติต่อคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดย ใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของ Polya ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD,” วารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(3) : กรกฎาคม-กันยายน.

วัชรี วงศ์ยิ้มย่อง. (2556). การพัฒนาความสามารถในการทำงานกลุ่ม โดยใช้กระบวนการสร้างความตระหนัก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

ศลิษา ชุ่มวารี. (2557). การพัฒนาความรู้ความเข้าใจอย่างถาวรด้านนาฏศิลป์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน โดยการใช้ชุดการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ไทย สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. เชียงใหม่ : โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย.

ศศิธันว์ สกุลหอม. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์สำหรับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์สร้างสรรค์. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริชัย นามบุรี. (2550). รายงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของผู้เรียนโดยใช้กิจกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์และบทเรียนสำเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส์ในสภาพแวดล้อมแบบ อีเลิร์นนิ่งผ่านโปรแกรม Moodle. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ศิริพร สอาดล้วน. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างความมีวินัยในตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิโรรัตน์ ทองคำดี. (2549). เรื่อง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนเรื่องพื้นฐานนาฎศิลป์ไทยสาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองยางอําเภอนางนอง จังหวัดบุรีรัมย์. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ส.วาสนา ประวาลพฤกษ์. (2537). การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

สถาพร สนทอง. (2559). บทบาทของสถาพร สนทอง กับวงการนาฏยศิลป์ไทย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สารานุกรมไทย สำหรับเยาวชนฯ. (2548). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. ฉบับบที่ 13. [ออนไลน์], จาก: http://km.rdpb.go.th /Project/View/8603.

สุมิตร เทพวงษ์. (2551). นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์สำหรับครูประถมและมัธยม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สุริยน ไชยชนะ. (2547). การสำรวจความรู้และเจตคติของชายไทยที่มีต่อภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ : ศึกษาเฉพาะกรณีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 1. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ มูลคำ และคณะ. (2549). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

สุวิมล ว่องวานิช. (2545). การวัดทักษะปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจัยการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สมชายวรกิจเกษมสกุล. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์. อุดรธานี: อักษร ศิลป์ การพิมพ์

โสมพร วงษ์พรหม (2558). “การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่อง รอบรู้นาฏศิลป์ไทยและการจัดระบบความคิดด้วยผัง ลำดับ เวลาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน” Veridian E- Journal, Silpakorn University, 8(1).

หยาดพิรุณ พวงสุวรรณ์. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ทักษะ พื้นฐานและการฝึกหัดการแสดงนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์

คุรุศาสตรมหาบัณฑิต จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

. (2546). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

อภิญญา เวียงใต้ (2555, บทคัดย่อ). การพัฒนาชุดกิจกรรมสาระนาฏศิลป์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่ม สัมพันธ์ สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ คุรุศาสตรมหาบัณฑิต บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

อารี พันธ์มณี. (2537). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ 1412.

อารี รังสินันท์. (2532). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.

อารี สัณหฉวี. (2543). พหุปัญญาและการเรียนแบบร่วมมือ. กรุงเทพฯ: แว่นแก้ว.

เอกรินทร์ สี่มหาภาค. (2546). การออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: บุ๊คพ้อย์.

Ching-lung Tseng and Min-ping Lin. (2012). The action of implementing creative dance in school education in Taiwan. Department of Dance, Taipei Physical Education College Department of Dance, Taipei Physical Education College.

Joseph Daniel DeMers. (2012). “Frame matching : a framework for teaching Swing and Blues dance partner connect ion.” Science and Educational Psychology, Overstreet Dance Gallery, Denver, CO, USA. 21 May.