สภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม
Main Article Content
บทคัดย่อ
กาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ (2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่
ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานมัธยมศึกษานครพนม จำนวน 338 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้(2) แบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีการจัดลำดับความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง ผลการศึกษาพบว่า(1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพพึ่งประสงค์ของการพัฒนาครูด้านทักษะการเรียนรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความต้องการจำเป็นในการ
พัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยรวม ได้แก่ 1 ด้านการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ 2 ด้านการออกแบบการเรียนรู้ 3 ด้านการใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรม 4 ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5 ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตามลำดับ
Downloads
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: คุรุสภา
ลาดพร้าว.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พีรวัสดิ์ เพ็ชรทอง. (2563). การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการพัฒนาตนเองของครูสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(8), 204-217.
ศรีวรรณ แก้วทองดี. (2561). แนวทางการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษา สหวิทยาเขตบึงสามพัน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2557). รายงานการศึกษาแนวโนมการพัฒนา คุณภาพครูเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ ศตวรรษที่ 21 (ฉบับย่อ). < https://onedrive.
live.com/?authkey=%21AC1cuLKx%5FfFR6XU&cid=C544AC76B607178E&id=
C544AC76B607178E%21593&parld=C544AC76B607 178E%2 1267&0=One
Up > 20 มิถุนายน 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม. (2563), รายงานสรุปผลสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2564, จาก: https://second-
ary22.go.th/#main_block
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. ( 2564). หนังสือ สำนักงาน ก.ค.ศ.
ที่ ศธ. 0206.4/2 3 เรื่อง มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา. ลงวันที่ มกราคม 2564.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). รายงานการวิจัยสมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูใน
สังคมที่เปลี่ยนแปลง กรุงเทพฯ
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). การพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย 4.0. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2557). การยกระดับคุณภาพครูไทยใน
ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สุนทรี ศิริอังกูร และคณะ. (2552). กลยุทธ์การพัฒนาและการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนโดยใช้เครือข่ายการวิจัยการศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างกลุ่ม1 นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.
สุวิมล ว่องวานิช (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรรณพ จีนะวัฒน์. (2559). การพัฒนาตนของผู้ประกอบวิชาชีพครู. วารสาร Veridian EJournal,
Silpakorn University, 7(1), 1379 - 1395
Doghonadze, N. (2016). The state of school and university teacher self-development in
Georgia. International Journal of Research in Education and Science (JRES), 2(1),
-113, Retrieved 10 July 2021, from: https://bit.ly/3iTNr7V.
Tyagi, Chanchal. (2021). Continuing Professional Development of Teacher Educators:
Challenges and Initiatives. Shanlax International Journal of Education, 9(2), 117-
from: https://bit.ly/374up7e, Retrieved 10 July 2021.