ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะที่มี ต่อความสามารถด้านการฟังและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2

Main Article Content

ธนิยา สายตำลึง
มนตรี วงษ์สะพาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการฟังของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะ 2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 29 คน โรงเรียนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร เครื่องมือที่ใช้ในการด􀄽ำเนินการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดทักษะการฟัง และแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ t-test (Dependent Sample)ผลการวิจัยพบว่า1. ความสามารถด้านการฟังของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะ มีความก้าวหน้าหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .012. ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะ มีความก้าวหน้าหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .013. นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้นิทานเป็นฐานร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กมล โพธิเย็น. (2562). ความคิดสร้างสรรค์: พรสวรรค์ที่ครูควรสรรค์สร้างให้ผู้เรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 17(1), 9-27.

กมลวรรณ สุคะโต. (2561). การวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาสติปัญญาด้านการฟังและการพูดภาษาไทยของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ด้วยการจัดประสบการณ์การเล่านิทาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

กาญจนา กาบทอง. (2552). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่องโจทย ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน โดยใช้ชุดกิจกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซิปปา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำ� หรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุ๊คส์.

เกตน์นิภา ฮาดคันทุง. (2561). การพัฒนาการจัดประสบการณ์โดยการเล่านิทานด้วยเทคนิคที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟังและการพูดสำ� หรับเด็กปฐมวัยที่ไม่ได้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

เกริก ยุ้นพันธ์. (2547). การเล่านิทาน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

จินตนา กรุพิมาย. (2559). การพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2549). พัฒนาการทางสติปัญญาตามทฤษฎีเพียเจท์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

นิตยา ประพฤติกิจ. (2546). พฤติกรรมเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทั ยธรรมาธิราช.

บวร งามศิริอุดม. (2554). ความหมายและความสำคัญของนิทาน. [ออนไลน์]. ได้จากhttps://sites.google.com/site/phisan13bird/bthkhwam/khwam-hmay-laea-khwam-sakhay-khxng-nithan.

[สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564]

พิกุล พูลสวัสดิ์. (2562). การพัฒนาความสามารถด้านการฟังและการพูดของนักเรียนชั้นอนุบาลชั้นปีที่ 1 โดยการจัดกิจกรรมการเล่านิทานอิสปร่วมกับกิจกรรมเกมการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ภรณี คุรุรัตนะ. (2533). เด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: สถานสงเคราะห์เด็กหญิงปากเกร็ด.ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2560). คู่มือสำ หรับพ่อแม่ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้ำนการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอน เด็กวัยอนุบาล 3-6 ปี. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย.

ลาวัลย์ ตนะสอน. (2559). การจัดประสบการณ์การเล่านิทานประกอบกิจกรรมศิลปะเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วิเชียร เกษประทุม. (2550). นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (2561). เปิดสถานการณ์เด็ กปฐมวัย พบปรากฎการณ์เร่งเรีย นตั้งแต่วัยอนุบาล.[ออนไลน์]. ได้จากhttps://www.mantanusorn.ac.th/th/news/745. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20กันยายน 2564].

สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว. (2562). แผนงานวิจัยการปฏิรูปสุขภาวะและการพัฒนาเด็กไทยในศตวรรษที่ 21. นครปฐม. มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม: ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการ ศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สยุมพู สัตย์ซื่อ. (2560). การพัฒนาการคิดเชิงเหตุผลโดยใช้กิจกรรมการเล่านิทานประกอบคำถามปลายเปิดสำหรับเด็กปฐมวัยศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สาวิกาพร แสนศึก. (2560). ศึกษาผลการใช้กิจกรรมวาดภาพประกอบการเล่านิทานที่มีต่อการพัฒนาการความคิดคล่องแคล่ว ความคิดริเริ่ม และความคิดละเอียดลออของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ราชภัฏบ้านสมเด็จ.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559). พัฒนาการเด็กปฐมวัย รากแก้วแห่งชีวิต.[ออนไลน์]. ได้จาก https://www.mantanusorn.ac.th/th/news/745. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20กันยายน 2564].

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3-5 ปี:แนะแนวสำหรับผู้ดูแลเด็ก ครูและอาจารย์. กรุงเทพฯ: แปลน ฟอร์ คิดส์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: กลุ่มงานมาตรฐานการศึกษา สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี. กรุงเทพฯ: สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.

สุพพัต สกุลดี. (2561). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับอนุบาล 1 โดยผ่านการเล่านิทาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

อัมรัตน์ ตั้งพิทักษ์ไพบูลย์. (2563). ผลของกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการวาดรูประบายสีเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ในเด็กปฐมวัย. วารสารวิจัยทางการศึกษา, 15(2), 118-132.

Klenz, S. (1987). Chapter IV: Critical and creative thinking. Canada: Saskatchewan,Department of Education.

Trilling, B. and Fadel, C. (2015). Twenty first century skills. San Francisco: Jossey-Bass