การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 359 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น .92 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่หนึ่ง
ผลการวิจัย พบว่า ทุกองค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากขึ้นไป ได้แก่ สมรรถนะเชิงวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีมอย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาศักยภาพของตนเอง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ และวิสัยทัศน์แบบองค์รวม ตามลำดับ องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ไคสแควร์ ( )= 6.76, df = 4, p-value = .15, CFI = .99, AGFI= .97, RMSEA= .44, GFI = .99, NFI = .97, RMR =.31
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 359 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น .92 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่หนึ่ง
ผลการวิจัย พบว่า ทุกองค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากขึ้นไป ได้แก่ สมรรถนะเชิงวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีมอย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาศักยภาพของตนเอง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ และวิสัยทัศน์แบบองค์รวม ตามลำดับ องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ไคสแควร์ ( )= 6.76, df = 4, p-value = .15, CFI = .99, AGFI= .97, RMSEA= .44, GFI = .99, NFI = .97, RMR =.31
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี จำนวน 359 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น .92 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่หนึ่ง
ผลการวิจัย พบว่า ทุกองค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากขึ้นไป ได้แก่ สมรรถนะเชิงวัฒนธรรม การทำงานเป็นทีมอย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาศักยภาพของตนเอง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ และวิสัยทัศน์แบบองค์รวม ตามลำดับ องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของครูประถมศึกษามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ไคสแควร์ (x2 )= 6.76, df = 4, p-value = .15, CFI = .99, AGFI= .97, RMSEA= .44, GFI = .99, NFI = .97, RMR =.31
Downloads
Article Details
References
ไชยดี ยะยือริ. (2562). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดสำนักงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ กศ.ม, มหาวิทยาลัยทักษิน, สงขลา.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นำใหม่ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระพล เจริญสุข. (2564). การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมสรรพสามิตในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา.
นที สะอาดนัก. (2563). แนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์การเกษตรสู่องค์กรหลักระดับอำเภอ. กรุงเทพฯ : สํานักนายกรัฐมนตรี. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลนยีที่ 16 จังหวัดเพชรบุรี
นวรัตน์ ชินอัครวัฒน์. (2563). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ กศ.ด., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประเวศ วะสี. (2543). สุขภาพในฐานะอุคมการณ์ของมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: สำนักงานปฏิรูปสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ปิตยานนท์, ดิเรก ศรีโข (2551). การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับ
งานวิจัย. (ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2560). คู่มืองานการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สุวรรณา เทพประสิทธิ์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบวิถีทาง-เป้าหมายของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียน ในอำเภอคลองหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนกับประสิทธิภาพการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีเทิร์น, 17(2), 28-40 .
Chaichana, M., Kongjit, C., Nimmolrat, A., & Kongjit, S. (2013, January 18" - 19"). Using of Knowledge Management for Enhancing Educational Service Staff Proficiency Development in University Business.Advancements in Business. Paper present at Economics & Innovation Management Research.Graduate School of Management.
Oita,Japan. (pp 66). Japan : Ritsumeikan Asia Pacific University Beppu,
Heifetz, R.A. (1994). Leadership without Easy Answers. Cambridge, MA: Harvard University Press.
Kay, K. (2010). 21st century skills: Why they matter, what they are, and how we get there. From
https://www.innovationlabs.com/plsd/resources/kenkay.pdf
Martin, J.M. (2010). Stigma and Student Mental Health in Higher Education. Higher Education Research and Development, 29(3), 259-274.
Saenkaew, A. (2015). Adaptation leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area Offce 19. Master's thesis, Khon Kaen University, Khon Kaen.