The Development of Student - Centered Model of Integrative Participatory Learning Management of All Subject Areas, Tessabal 5 Tessabal Mueang Pattani School, Pattani Province

Main Article Content

Nantawan Kongseeparn

Abstract

This research was aimed to 1) study the basic data necessary to develop the student-centered model of integrative participatory learning management of all Subject Areas, Tessabal 5 Tessabal Mueang Pattani School, Pattani Province 2) design and develop the model 3) try out the model in the target group 4) study the satisfaction of users toward the model and improve it to use in real practices. Based on the simple random sampling technique, the chosen groups were 28 teachers and 234 students, a total of 262 people and these were studied with the research instruments of interviewing questionnaire, skill test, satisfaction test and focus group discussion technique. The collected data was analyzed and presented in percentage, mean, standard deviation, statistical outcomes of dependent-t-test and its content analysis.         


It was presented as follows


1.All of the teachers sampled from all Subject Areas wanted to develop themselves through this model.


2.The BUKAR Model was constructed and test of its primary feasibility in the practical academic conference and the internal seminar among teachers it was revealed that the model could pass the test.


3.The results were shown, pre-test at medium level, post-test at highest level and the pre-post test results yielded its significant different outcomes at P ≤ 0.01.


4.Both of the two target groups, teachers and students had their satisfaction at the highest level.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
Kongseeparn, N. (2024). The Development of Student - Centered Model of Integrative Participatory Learning Management of All Subject Areas, Tessabal 5 Tessabal Mueang Pattani School, Pattani Province . Journal of Educational Administration and Supervision, 15(3), 67–86. retrieved from https://so20.tci-thaijo.org/index.php/JAD/article/view/516
Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จนถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. กระทรวงศึกษาธิการ.

กัลยา จันทร์พราหมณ์. (2562). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)ตามแนวการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. มหาวิทยาลัยบูรพา.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). การจัดการเรียนรู้. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิตรตรา วรรณมณ. (2562). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่จัดการเรียนรู้โดยบูรณาการกับ ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวังหินวิทยาคม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

จิรชพรรณ ชาญช่าง. (2563). การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: การเรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุรีพร คุริรัง. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของครูที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. https://www.krubannok.com/board_view.php?b_id=155358.

ชนาธิป พรกุล. (2561). กระบวนการสร้างความรู้ของครู กรณีการสอนบูรณาการ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัชชา ศรีเศรษฐา. (2561). การศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ณัชชา สอนสมฤทธิ์. (2563). กระบวนการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. คุรุสภาวิทยาจารย์.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 23). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัญลักษณ์ ประทุมสินธ์. (2561). การบริหารการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). สุวีริยาสาส์น.

บุหงา คงราช. (2560). แนวทางพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีษะเกษ เขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประวิต เอราวรรณ์. (2545). การวิจัยปฏิบัติการ. ดอกหญ้าวิชาการ.

ไพรวรรณ ดอนกระสินธุ์. (2561). การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถนะครูในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ภานุพงศ์ โสนโชติ. (2562). การพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

ลัดดา ธนะภูมิชัย และสมปัต ตัญตรัยรัตน์. (2564). ผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยหน่วยบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้. วารสารศึกษาศาสตร์. 8(1), 110 -117.

สุวิทย์ มูลคำ. (2542). แฟ้มสะสมงาน. ทีพี พริ้นท์.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining sample sizes for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30 : 607 – 610.