การพัฒนาบุคลากรแบบสามเส้าเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น โรงเรียนบ้านห้วยไห อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ

Main Article Content

Wutsaphon Nittayakulset

Abstract

The purposes of this research were: 1) to study the context and general conditions of Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School , 2) to develop Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School, 3) to test Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School, 4) to study the effect of Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School, 5) to enhance learning achievement of students. The study sample was comprised of 3 teachers and 39 Prathomsuksa1-6 students. The research tools were 1) Assessment Form for teachers 2) Interview form for teachers 3) Supervision Record Form 4) Interview form 5) Observation Form 6) Recording Form 7) Satisfaction form. The statistical analysis was employed in terms of percentage, mean, and standard deviation, and Item-Objective Congruence Index (IOC),


The research finding as follows:
1. The context and general conditions of Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School was in a low level.


2. The development Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School found that in overall were at a high level.


3. The result of using Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School found that which were a suitable development model. 


4. The effect of Triangulation Model to enhance Multilevel Lesson Plan of teachers in Ban HuaiHai School in overall were at a high level. (x̄ = 4.21, S.D. = 0.53)


5. Learning achievement of students in Ban HuaiHai School showed higher than the previous academic year.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
Nittayakulset, W. (2024). การพัฒนาบุคลากรแบบสามเส้าเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น โรงเรียนบ้านห้วยไห อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ. Journal of Educational Administration and Supervision, 9(2), 37–52. retrieved from https://so20.tci-thaijo.org/index.php/JAD/article/view/297
Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กุลรภัส เทียมทิพร และคณะ. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบคละชั้นสำ หรับโรงเรียนขนาดเล็ก. รายงานการวิจัย นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

กิ่งเพชร ส่งเสริม. (2552). การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนแบบคละชั้นในโรงเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์.

จรรยา เรืองมาลัย. (2550). ‘‘การแก้ปัญหาในโรงเรียนขนาดเล็ก,” ในเอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและองศ์การยูนิเซฟ.

ธีระวุฒิ ประทุมนพรัตน์ และคณะ. (2532). การนิเทศภายในโรงเรียน. สงขลา: ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา.

นงลักษณ์ สินสืบผล. (2540). การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฎธนบุรี.

นิรมล ตู้จินดา. (2557). การบริหารและการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในโรงเรียนขนาดเล็ก. รายงานการศึกษาส่วนบุคคล นบส.ศธ. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.

บรรจง ไชยรินคา. (2555). ปัญหาและความต้องการในการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดเล็กที่จัดการเรียนรู้แบบคละชั้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.

บุญชอบ ลาภเวช. (2556). การศึกษาการบริหารจัดการเรียนแบบคละชั้นสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.

พัฒนา สุขประเสริฐ. (2540). กลยุทธ์ในการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พิพัฒน์ สอนสมนึก. (2553). การพัฒนาโมเดลการจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น สำหรับโรงเรียน ขนาดเล็กสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. หาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2545). “แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545”, ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 119 ตอนที่ 74 ก หน้า 16-21. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (2550). กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

โรงเรียนบ้านห้วยไห. (2559). รายงานประจำปีสถานศึกษา. ชัยภูมิ: โรงเรียนบ้านห้วยไห. สุรเสน ทั่งทอง. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมชั้น. ม.ป.ท.: ป.ป.พ..

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2540). การบริหารบุคคลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). คู่มือการบริหารจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในโรงเรียน ขนาดเล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). คู่มือการบริหารจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในโรงเรียนขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.

หน่วยศึกษานิเทศก์. (2545). เอกสารความรู้ประกอบการพัฒนาบุคลากรปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ปี 2544. อุบลราชธานี: รุ่งศิลป์การพิมพ์ออฟเซต.

อเนก ส่งแสง. (2540). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพื้นฐานการศึกษาคณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร.

อรอุมา สุวรรณรัตน์. (2555). การศึกษาการบริหารจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในโรงเรียนขนาดเล็ก: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโคกเจริญ จังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

Stuart, S. (2006). Multiage Instruction and Inclusion: A Collaborative Approach. International Journal of whole schooling, 3(1).