รูปแบบการนิเทศโรงเรียนแกนนำการพัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียนสำหรับ โรงเรียนเอกชน

Main Article Content

ดนุภัค เชาว์ศรีกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดลองใช้รูปแบบการนิเทศโรงเรียนแกนนำการพัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียนสำหรับโรงเรียนเอกชน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอน จำนวน 55 คน จากโรงเรียนเอกชน จำนวน 3 แห่ง ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบทดสอบแบบสอบถาม และการใช้ดัชนีประสิทธิผลในการวัดประสิทธิภาพของรูปแบบการนิเทศ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละและ t-test ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศ พบว่า รูปแบบการนิเทศประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์ และกระบวนการ ส่วนผลการทดลองใช้รูปแบบการนิเทศ พบว่า รูปแบบการนิเทศมีประสิทธิผลร้อยละ 91.78 / 89.20 ซึ่งครูผู้สอนมีคะแนนเฉลี่ยหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยส􀄽ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับ “มากที่สุด”

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2556). การประยุกต์ใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

พิสิษฐ์ แก้ววรรณะเกตุมณี มากมี และสำเนา หมื่นแจ่ม. (2558). การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15 ; 23 กรกฎาคม 2558; มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,939-950.

ยอดอนงค์ จอมหงษ์พิพัฒน์และคณะ. (2563). คู่มือการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา: การนำมาตรฐานและตัวชี้วัดในกลุ่มสาระที่เปลี่ยนแปลง พ.ศ.2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา. อุบลราชธานี: กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี.

รัตนะ บัวสนธ์. (2556). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). พิษณุโลก: สำนักพิมพ์บั๊วกราฟฟิค.

รุ่งทิวา จันทน์วัฒนวงษ์. (2559). รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรระดับชั้นเรียนที่อิงมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทศักราช 2551. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(2), 151-162.

วชิรา เครือคำอ้ายและชวลิต ขอดศิริ. (2562). การพัฒนารูปแบบการนิเทศโดยใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพี่เลี้ยงเพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมนักวิจัย, 24(1),121-135.

วารุณี ลัภนโชคดี. (2560). รูปแบบการพัฒนาครูภาษาไทยโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 13(2), 150-181.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). ทฤษฎีการประเมิน (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

สมหวัง พันธะลี. (2564). หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะเชี่ยวชาญ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารความรู้ เรื่อง ศึกษานิเทศก์ผู้นำทางวิชาการ ; 13-17 กันยายน 2564 ; สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา นครปฐม.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี. (2562). รายงานผลการนิเทศ ติดตามการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของโรงเรียนเอกชน. อุบลราชธานี: กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดอุบลราชธานี.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (16 เมษายน 2562). เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรหลักเพื่อสร้างความเข้าใจเรื่อง การนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ไปสู่การปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2563, จาก http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=70

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2559). ก. รายงานการวิจัยแนวโน้มภาพอนาคตการศึกษาและการเรียนรู้ของไทยในปี พ.ศ. 2573. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.

สำนักวิจิวัย และพัฒนาการศกึ ษา. (2559). ข. แนวทางสง่ เสรมิ เครอื ขา่ยวจิ ัยทางการศกึ ษาในการขบั เคลือ่นการวิจัยและพัฒนาการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

แฮนด์, เดวิด เจ. (2555). สถิติ: ความรู้ฉบับพกพา. แปลจาก Statistics: A Very Short Introduction โดย วิโรจน์ รุจิจนากุล. หน้า 140. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.