เทคนิคการนิเทศการสอนเชิงเน้นวัตถุประสงค์ร่วมสมัยในสถานศึกษา

Main Article Content

พัชรินทร์ ศิริสุข

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีความมุ่งหวังน􀄽ำเสนอแนวทางการปฏิบัติงานนิเทศการสอน ที่มีผลต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการนิเทศการสอนที่เฉพาะเจาะจงเพื่อตอบสนองการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยประยุกต์แนวคิดการบริหารร่วมกันระหว่าง
ผู้นิเทศและครู เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ทรงคุณค่า ประกอบด้วยแนวทางดังนี้ 1) ครูจะปรับปรุงการสอนเรื่องใด 2) ปัญหาเกิดจากแหล่งใด 3) เทคนิควิธีการที่ใช้ในการพัฒนาที่มาจากปัจจัยของการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นเป้าหมายและการปฏิบัติตามเป้าหมายที่ต้องการจะปรับปรุง 4) ผู้มีส่วนร่วมพัฒนา โดยเฉพาะ
ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นเสาหลักในการนิเทศการสอนให้บรรลุเป้าหมาย และ 5) ผลลัพธ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนางานของครูโดยครู ก่อให้เกิดคลังเครื่องมือนิเทศการสอนที่เฉพาะเจาะจงอย่างหลากหลายในการส่งต่อกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู อันน􀄽ำไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและสนองตอบอุดมคติของการนิเทศการศึกษาที่มีส่วนในการจัดการศึกษาให้ทันต่อสภาวการณ์ตามที่สังคมคาดหวัง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

นิพนธ์ ไทยพานิช. (2531). เทคนิคการนิเทศการสอนเชิงเน้นวัตถุประสงค์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ นักรบ หมี้แสน (บรรณาธิการ) ความเป็นผู้นำทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. (2561). การนิเทศการศึกษาร่วมสมัย ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ นักรบ หมี้แสน (บรรณาธิการ) ความเป็นผู้นำทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนนั ตน์ าวี. (2562). การพฒั นาตวั บง่ ชีภ้ าวะผูน้ ำทางวชิ าการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในศตวรรษที่21 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(2), 40-53.

วิเศษ ชิณวงศ์. (2561). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง หลักการและแนวคิดในการนิเทศการศึกษายุคใหม่, รูปแบบกระบวนการและเทคนิคการนิเทศการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์.

วุฒิชัย ภูดี และชัยณรงค์ เพียรภายลุน. (2564). อนาคตภาพของครูยุคดิจิทัลหลังจากวิกฤตการณ์โควิด19. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 13(2), 321-330.

สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. นนทบุรี: ไทยร่มเกล้า จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2556). รายงานการศึกษาระบบการนิเทศ ปัญหาความต้องการและรูปแบบการนิเทศที่เอื้อต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). การพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: พริกหวาน จำกัด.

สมยศ นาวีการ. (2550). การบริหาร: การบริหารโดยวัตถุประสงค์ (MBO) การตัดสินใจของผู้บริหารการบริหารแบบมีส่วนร่วม: QC. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์บรรณกิจ (1991) จำกัด.

Burdzinska, H.K. & Flak, O. (2016). MANAGEMENT BY OBJECTIVE AS A METHOD OF MEASURING TEAMS’EFFECTIVENESS. Journal of Positive Management, 6(3), 67-82. Retrieved December 23, 2020, from https://www.researchgate.net/publication/301597505.

Carson, C.M., Mosley, D.C. & Boyar, S.L. (2014, October). Goal orientation and supervisory behaviors: impacting SMWT effectiveness. Team Performance Management, 10(7), 152-162. Retrieved November 28, 2020. from https://doi.org/10.1108/1352790410569878.

Drury, A. (2020). Management by Objective (MBO). Retrieved January 28, 2021, from https://www. investopedia.com/terms/m/management-by-objectives.asp.