แนวทางการจัดการความรู้สำหรับข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3

Main Article Content

เกริกเกียรติ นรินทร์
พิมพ์พร จารุจิตร์

บทคัดย่อ

` การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อหาแนวทางการจัดการความรู้สำหรับข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3  2.เพื่อประเมินแนวทางการจัดการความรู้สำหรับข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ศึกษาแนวทางการจัดการความรู้ของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูล หาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 3 การประเมินแนวทางการจัดการความรู้สำหรับข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 โดยการเลือกแบบเจาะจง ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน          


ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดการความรู้สำหรับข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 การกำหนดองค์ความรู้ การรวบรวมองค์ความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลองค์ความรู้ การเข้าถึงองค์ความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเรียนรู้ และ 2) การประเมินแนวทาง ในด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กนกอร สมปราชญ์. (2560) ภาวะผู้นำและภาวะผู้นำการเรียนรู้สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2 ขอนแก่น หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 92

กระทรวงศึกษาธิการ (2563). การจัดการเรียนรู้เรื่องโควิด – 19 คู่มือครูสำหรับการจัดกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับโรค โควิด 19 สืบค้น 10 ตุลาคม 2564,จาก https://www.unicef.org/thailand/media/4551/file/Teacher%E2%80%99s%25%2 0%252.%20%20%20%20%20%20%20%20%20%20%200

จริยา ปันทวังกูร. (2563). การจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 10(3), 289-291.

ธัญญารัตน์ เกื้อหนุน (2560). การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ธีระ รุณเจริญ (2555) , ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3, พิมพ์ครั้งที่ 7 (กรุงเทพฯ : ข้าวฝ่าง)

นจรส ศิริขรรแสง. (2564) แนวทางการจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกาสี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญชม ศรีสะอาด (2560) การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

พจมาลน์ กิจเจริญไชย. (2560) การจัดการความรู้ของโรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

พวงพรรณ แสงนาโก. (2559) การจัดการความรู้ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอเขา สมิง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด-19. วารสารศิลปะการจัดการ, 4(3), 794.

ราชกิจจานุเบกษา. (2546). พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (120) ตอนที่ 100 ก.

วิจารณ์ พานิช. (2549) การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ

วิภาดา เวชประสิทธิ์ (2563) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์. สืบค้นเมื่อ10ตุลาคม 2564, จากhttp://hsmi2.psu.ac.th/upload/forum/ Phd_Wiphada_slide.pdf

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556) กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21 กรุงเทพฯ : ทิพยวุสุทธิ์

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ:พริกหวานกราฟฟิค.

สุชาดา หวังดี. (2560). การจัดการความรู้ของครูในโรงเรียนกลุ่มศูนย์ภัทรบูรพาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2553). การจัดการความรู้ มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิมล มธุรส (2564) การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID – 19 วารสาร รัชต์ภาคย์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 40 พฤษภาคม – มิถุนายน 2564

เสกสรร บิวศิลป์ศักดิ์. (2564). การจัดการความรู้สู่การบริหารองค์การที่เป็นเลิศ. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565, จาก https://jeal.snru.ac.th/Files/Article/649-ArticleTextFile-20191031162401.pd

เอมอร จังศิริพรปกรณ์. (2553). สถิติอ้างอิง. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://www.pioneer.netserv.chula.ac.th/~jaimorn/ b3st.htm.

ไอลดา สุขสี. (2563). แนวทางการจัดการความรู้ในโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 15 (บ้านม่วงเฒ่า). วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Guskey, T. R. (2000). Evaluation professional development. California: A sage.