ผลการสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

พระสุพล นิยืนรัมย์
พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ์
เดชา จันทะคัต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2)ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ12 ไตรลักษณ์ 3 ระหว่างการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนโรงเรียนห้วยราชพิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 และ 2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ได้มาโดยการเลือกแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือในการวิจัยได้แก่


1) แผนการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติ 2) แบบทดสอบต่อการเรียนรู้แบบสัดส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำ นวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (dependent and independent samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี


แผนการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 88.07/ 87.50 และ 83.25/82.19 ตามลำดับดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่า .6066 และ .5179 คิดเป็นร้อยละ 60.66 และ 51.79 ตามลำดับ


3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 หลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการและแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องขันธ์ 5 อายตนะ 12 ไตรลักษณ์ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนแบบโยนิโสมนสิการสูงกว่าแบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และ 3) แบบวัดเจตคติ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

Academic Department. (2002). Basic education curriculum 2001. Bangkok: Organization of the parcel delivery and receipt.

Dararat Uthaiphayak. (2005). Developing teaching and learning model based on Buddhist approach to promote conservative behavior of the early childhood. Ph.d. Thesis, Srinakharinwirote University, Bangkok.

Flavell, J.H. (1979). Metacognition and Cognitive Monitoring. USA: American Psychological Association, Inc.

Lakkhana Sariwat. (2006). Thinking. Bangkok: O.S. Printing House.

Ministry of Education. (2008). The basic core curriculum 2008: Content and standards of learning in Thai language. Bangkok: Organization of the parcel delivery and receipt.

Office of National Education Committee. (1999). National education act. Bangkok: Kurusapha Press.

Phra Bunlert Nimsuwan. (2011). An effect of learning activities through Yonisomanasikan thinking entitled Buddhist activities in Mathayomsuksa 1. M.Ed. Independent Study, Masarakham University, Maha Sarakham.

Phramaha Sayan Pongphila. (2011). An effect of teaching a lesson entitled ”Life and Environment” through Yonisomanasikan model and actual model over learning achievement of Mathayomsuksa 3 students. M.Ed.Thesis, Masarakham University, Maha Sarakham.

Phrapromkhunaporn (P.A.Payutto). (2011). Study and practice to develop own-self most effective. Bangkok: Amarin Press.

Phrathampidok (P.A.Payutto). (2004). Buddhist method in teaching. Bangkok: Sahathamik Press, Inc.

Phra Winyoo Thaothawong. (2010). Comparisons of Thai learning achievement, analytical thinking and self-discipline between the Yonisomanasikan teaching approach and the teaching approach through teacher’s handbook in a

Buddhismcourse of Mathayomsuksa 5 students. M.Ed.Thesis, Masarakham University, Maha Sarakham.

Pramote Artvichai. (2010). A comparison of learning achievement and critical thinking of Mathayomsuksa 1 through Yonisomanasikan teaching activity and teacher’s handbook. M.Ed. Thesis, Burapa University, Chonburi.

Rosukhon Yomkanit. (2010). A study of learning process based on Buddhist approach. M.A.Thesis, Masajuralongkonrajchavitayalai University, Bangkok.

Wanitcha Laophorn. (2010). Developing work performance of students’ modification aggressive behavior under Bankhoknoi school, Namsoam district, Udon Thani province. Udon Thaini.

Wichai Wongyai. (2000). Curriculum and instruction development. Bangkok: Suveeriyasan Press.