ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง กลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้า ตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง กลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้าตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหาร วิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง กลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้า ตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีประชากร คือ โรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้า กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 7 คน และครู จำนวน 74 คน รวมทั้งหมด 81 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น(PNImodied ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลางกลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้า ตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมาก (X=3.928) สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลางกลุ่มโรงเรียนท่า จีนก้าวหน้า ตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมากที่สุด (X-4.562, S.D.=0.505) 2) ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลางกลุ่มโรงเรียนท่าจีนก้าวหน้า ตามแนวคิดคุณลักษณะนักคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ที่มีความต้องการจำเป็น สูงสุด คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร (PNI modfied-0.176) รองลงมา คือ การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา (PNImodfied -0.162) การวัดและประเมินผล (PNI =0.156) และด้านการจัดการเรียน=0.152) ตามลำดับ
Downloads
Article Details
References
กฎกระทรวง. (2550). หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา. สืบค้นเมื่อ3 สิงหาคม 2563, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/024/
PDF.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดียจามจุรี จำเมือง. (2552). คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ:เจริญดีมั่นคง.
ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิพาดา เทวกุล. (2558) ความคิดสร้างสรรค์ สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2563, จาก http://pirun.kuac.th/agrpct/envelop/creative%20think.pdf.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2550). การจัดและการบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2563, สืบค้น
on http://www.satit.mua.go.th/dataS/OHEC_document/201807121546.pdf.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษา. (2555). มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ.2555.สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2563, จาก http://www.thaischool1.in.th/site/documentschoo-
download.php?doc_id=932.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ. ภาพพิมพ์,
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). รายงานสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย, สืบค้นเมื่อ 13
กรกฎาคม 2563, จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/สำรวจ/ด้านสังคม/แรงงาน/สถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย.aspx.
สิทธิชัย ชมพูพาทย์. (2554). การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนการสอนเพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของครูและนักเรียนโรงเรียนส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์โดยใช้วิจัยเชิงปฏิบัติการเชิงวิพากษ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,กรุงเทพฯ.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chinkee Tan. (20 19). 5 Characteristics of A Good Problem Solver. Retrieved January 2, 202 1.
from https://www.goodnewspilipinas.com/5-characteristics-of-a-good-problem-solver./Dewett, T. (2007). Linking intrinsic motivation, risk taking, and employee creativity in an R&D
environment. R&D Management, 37 (3), 197-208.
Isaksen, S.G., Treffinger, D.J. & Selby, E.C. (2007). Understanding individual problem-solving
style: A key to learning and applying creative problem solving. Learning and Individual Difference, 18(1), 390-40 1.
Isaksen, S.G. et al. (20 11). Linking Problem-Solving Style and Creative Organizational Climate:An Exploratory Interactionist Study. The International Journal of Creativity & Problem Solving, 21(2), 7-38.
Seaward, B.L. (20 12). Managing Stress: Principles and Strategies for Health and Well-Being.Sudbery: Jones & Bartlett Learning.
Tesluk et al. (1997). Influences of Organizational Culture and Climate on Individual Creativity.
Journal of Creative Behavior, 31 (1), 27-41.
better_b_8253728.
Ulli Appelbaum. (2017). 7 'Tips' to Become a Better Creative Problem-Solver. Retrieved
January 2, 2021. from https://www.huffpost.com/entry/7-tips-to-become-a-
Véronique Sylvain. (2003). Creative Problem-Solving Test. Retrieved December 25, 2020,
from https://testyourself.psychtests.com.
Wheeler, D.K. (1978). Curriculum process. London: Hodder & Stoughton.