การเรียนรู้โดยการบริการสังคมกับการพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและการประยุกต์ใช้การเรียนรู้โดยการบริการสังคมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยผู้เขียนมุ่งนำเสนอวิธีการจัดการเรียน การสอนโดยการบริการสังคม ซึ่งนักศึกษาได้ใช้ทั้งความรู้และทักษะทางวิชาการ รวมทั้งเนื้อหาสาระในส่วนที่เกี่ยวข้องได้แก่ การเรียนรู้ในยุคเปลี่ยนผ่าน นักศึกษาวิชาชีพครูกับการบริการสังคม และตัวอย่างการเรียนรู้โดยการบริการสังคมผ่านรายวิชา ซึ่งบทความนี้จะช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครูผ่านการทำงานร่วมกันกับชุมชน การเรียนรู้จากการปฏิบัติ และการประยุกต์สู่การเรียนการสอนทางครุศึกษา
Downloads
Article Details
References
เกิดพงศ์ จิตรหลัง. (2562), คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 14(1), 138-148.
ชิรวัฒน์ นิจเนตร. (2561). การเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม: ทางเลือกหนึ่งในการรับใช้สังคมของมหาวิทยาลัย. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1), 1-32
ฐิติวัสส์ สุขป้อม ณัฏฐกรณ์ ปะพาน ปิยาภรณ์ เตชะเรืองรอง อุดม ตะหน่อง. (2563). ครูกับเทคโนโลยีการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 15(2), 1-17.
ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนภัทร จันทร์เจริญ. (2562). การจัดการเรียนรู้สู่การศึกษาไทย 4.0. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 13(3), 216-229.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558ก). การเรียนรู้โดยการบริการสังคม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ 2(1), 9-18.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558ข). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการบริการสังคมสำหรับนิสิตครูวิทยาศาสตร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 9(19), 30-39.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558ค). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2563), ครูในยุคศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 39(1): 15-24.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). หลักการศึกษาเบื้องต้น ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
สุรเกียรติ ธาดาวัฒนาวิทย์. (2561). คุณลักษณะบัณฑิตที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทยตามแนว"ประเทศไทย 4.0", วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(2), 404-416.
Baldwin, S. C., Buchanan, A. M., & Rudisill, M. E. (2007). What teacher candidates learned about diversity, social justice, and themselves from service-learning experiences.Journal of Teacher Education, 58(4), 315-327.
Barnes, M. E. (2016). The student as teacher educator in service-learning. Journal of Experiential Education, 39(3), 238-253.
Kolb, D. A. (2014). Experiential learning: Experience as the source of learning anddevelopment. Fl press.
Nuangchalerm, P. (2016). Local service learning in teacher preparation program. Journalof Education and Learning, 10(1), 8-14.
Nuangchalerm, P.(2014a). Service learning in science teacher preparation program:Concepts and practices. Chemistry: Bulgarian Journal of Science Education, 23(6), 815-828.
Nuangchalerm, P. (2014b). Self-efficacy and civic engagement in undergraduate students:Empirical results of a service learning program in Thailand. International Journal for Service Learning in Engineering, 9(2), 150-156.
Nuangchalerm, P. and Chansirisira, P. (2012). Community service and university roles:An action research based on the philosophy of sufficiency economy. US-China Education Review, 2(4), 453-459.
Osman, R., & Petersen, N. (2013). Service learning in South Africa. Cape Town, SouthernAfrica: Oxford University Press.
Prasertsang, P. & Nuangchalerm, P. (2013). The development of service learning instructional model for pre-service teachers. Higher Education of Social Science, 4(3), 54-58.
Richards, K.A. R., Jacobs, J.M., My, V.N., & Lawson, M.A. (2020). Preservice teachersperspectives and experiences teaching personal and social responsibility.Physical Education and Sport Pedagogy, 25(2), 188-200.
Ryan, M. (2012). Service-learning after learn and save America: How five states are movingforward (Denver: Education Commission of the State). Retrieved from http://www.ccs.org/clearinghouse.
Smith, A. (2016). Experiential learning. Edward Elgar Publishing Limited.
Weigert, K.M. (1998). Academic service learning: Its meaning and relevance. In Newdirections for teaching and learning, No. 73 (pp. 3-10). San Francisco: Jossey-Bass.
Zlotkowski, E. (2000). Service-learning in the disciplines: Strategic directions for service-learning research. Michigan Journal of Community Service-Learning, 7, 61-67.