แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการบริหารคุณภาพุวงจรเดมมิ่ง (PDCA) ของครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทร์ปราการ เขต 1

Main Article Content

วารี สรสัมฤทธิ์
นันทิยา น้อยจันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการบริหารคุณภาพวงจรเดมมิ่ง (PDCA)


ของครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้บริหารและครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จำนวน 234 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องกับค่า (IOC) และความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ.815 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า


  1. สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครู้ในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมาก (X=4.39)

  2. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการบริหารคุณภาพวงจรเดมมิ่ง (PDCA)รื่องการใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวม 1) PLAN มีการประชุมวางแผน วิเคราะห์ปัญหาการใช้สื่อการเรียนการสอน เก็บข้อมูล แต่งตั้งให้มีฝ่ายรับผิดชอบกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน 2) DO โรงเรียนจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เพื่อพัฒนาการจัดการเรียน

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการบริหารคุณภาพวงจรเดมมิ่ง (PDCA)


    ของครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้บริหารและครูในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จำนวน 234 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องกับค่า (IOC) และความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ.815 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า


    1. สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครู้ในโรงเรียนกลุ่มศรีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมาก (X=4.39)

    2. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักการบริหารคุณภาพวงจรเดมมิ่ง (PDCA)รื่องการใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวม 1) PLAN มีการประชุมวางแผน วิเคราะห์ปัญหาการใช้สื่อการเรียนการสอน เก็บข้อมูล แต่งตั้งให้มีฝ่ายรับผิดชอบกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน 2) DO โรงเรียนจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 3)CHECK โรงเรียนมีการจัดทำตารางนิเทศน์การจัดการเรียนการสอน มีการนิเทศน์ติดตามจากฝ่ายผู้บริหาร สร้างขวัญและกำลังใจ 4) ACT โรงเรียนให้นักเรียนและครูร่วมกันประเมินสื่อการเรียนการสอน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542), การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การศาสนา.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แผนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). การพัฒนาสมรรถนะครูในศตวรรณที่ 21 ครูและบุคลากรทางการศึกษาหลากหลายแนวทางตามข้อเสนอของคณะกรรมการสภาการศึกษา พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.

กิตติศักดิ์ ร่อนแก้ว. (2552). การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารศึกษาในการบริหารสถานศึกษากองทัพบก.

ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จารุวรรณ เพียรบุญ (2554). การศึกษาสมรรถนะการบริหารจัดการห้องเรียนของครู สังกัดสำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จตุพล หาญดี. (2555). การพัฒนาบุคลากรด้านการ ประเมินผลผู้เรียน โรงเรียนท่าลาด อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2547). กาศึกษาสมรรถนะและการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลาพูนเขต 2. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย.

บุญสอน ประถมวงศ์. (2556). ความต้องการพัฒนาตนเอง ของครูโรงเรียนแม่สะเรียง "บริหารศึกษา"อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต: มหวิทยาลัยเชียงใหม่.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

สำนักงานงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2548). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตร.

สนธยา พรหมกิ่งแก้ว. (2557). การใช้การศึกษานอกสถานที่เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และเจตคติที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง. วิทยานิพนธ์ สาขาการบริหารการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต: มหวิทยาลัยเชียงใหม่.

อาริสา ทองทวี. (2553). สมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการครูสายงานการสอนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เอกสิทธิ ชนินทรภูมิ. (2554). สมรรถนะครูกับการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสาธิตในจังหวัดนครปฐม. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

อำนวย เถาตระกูล. (2551). คู่มือการเขียนแผนการสอน การเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพเล่ม 1.กรุงเทพฯ: สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ.