การพัฒนานิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวั้ย โดยใช้ชุดกิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีต์สิบสอง คองสิบสี่

Main Article Content

วรรณิษา หาคูณ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาผลการพัฒนานิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่


2) เปรียบเทียบผลการพัฒนานิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยต่อการให้ความรู้ของนิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง การส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมหนังสือนิทาน พื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 18 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ชุดกิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ แบบสังเกตพฤติกรรมของนิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่อง การส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย และแบบสอบถามความพึงพอใจผู้ปกครองเด็กปฐมวัยต่อการให้ความรู้ของนิสิต สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ One-way Repeated ANOVA


จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า


ผลการพัฒนานิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการส่งเสริมภาษาและการู้หนังสือสำหรับ เด็กปฐมวัย โดยใช้ชุด กิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ มีค่าเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นก่อนการทดลอง การ สังเกตสัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 4 และสัปดาห์ที่ 6 มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.08, 3.35, 4.06, และ 4.46ตามลำดับ มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.30, 0.32, 0.52 และ 0.48 ตามลำดับ


ผลการพัฒนานิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่องการส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือ สำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ชุด กิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยต่อการให้ความรู้ของนิสิตสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่องการส่งเสริมภาษาและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้ชุดกิจกรรมหนังสือนิทานพื้นบ้านอีสานฮีตสิบสองคองสิบสี่ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.49 จากคะแนนเต็ม 5

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กมลชนก กำเนิดนก. (2551). การพัฒนาศักยภาพตนเองของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร (รายงานผลการวิจัย). พิษณุโลก: กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กฤษณา สมะวรรธนะ มนต์ชัย เทียนทอง พิสิฐ เมธาภัทร และไพโรจน์ สถิรยากร. (2554). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 5(3): 95-104.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การศึกษาสำหรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุ๊คส์.

วรรณิษา หาคูณ. (2561). เอกสารประกอบการสอน 0561 201 ภาษาไทยและการรู้หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย (Thai Language and Literacy for Young Children), ม.ป.ท.

วรรณิษา หาคูณ. (2563). การพัฒนารูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย: | กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านวังบัวสามัคคีวิทยา อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 14(2): 210-225.

วิจารณ์ วานิช. (2555), วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดสี-สกฤษดิวงศ์.

สุริยา ฆ้องเสนาะ. (2558). การศึกษาเด็กปฐมวัยหัวใจสำคัญของการศึกษา. สืบค้น 20 มิถุนายน 2560

on http://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2558/hi2558-082.pdf

สำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา. (2561). ยุทธศาสตร์การพัฒนานิสิตนักศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษา (พ.ศ. 2560-2564) สืบค้น 5 พฤษภาคม 2563 จาก http://old.rmutto.ac.th/rmuttonews/ attachment/TR3332_235442.pdf

อาณัติ แพทย์วงษ์. (2550). ศึกษาแนวทางการพัฒนานิสิตนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร.(วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

Beckley, P. (2012). Learning in Early Childhood. London: SAGE.

Essa, L. E. (2011). Introduction to Early Childhood Education. 6*. Australia:

Kelesidou, S., Chatzikou, M., Tsaimagka, E., Koutra, E., Abakoumkin, G. & Tseliou, E. (20 16).The role of parents' educational level and centre type in parent satisfaction with early childhood care centres: a study in Greece. European Early Childhood Education Research Journal. (n.d.), 1-16. Retrieved June 11, 2017, from http:// www.tandfonline.com/doi/full/ 10.1080/1350293X.2016. 1203570?scroll=top& needAccess=true.

Landry, H., S. (2014). The role of parents in early childhood learning. Retrieved June 11,

, from http://www.child-encyclopedia.com/parenting-skills/according-experts/ role-parents-early-childhood-earning.

Tried, L. (20 16). The Early years handbook for students and practitioners: an essential guide for the foundation degree and levels 4 and 5. London: Routledg.