นวัตกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เพื่อศึกษาการคิดเชิงระบบเรื่องโครงสร้างของพืชสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/80 และ2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และ 3) เพื่อศึกษาการคิดเชิงระบบของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านนาน้อย อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ในภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้(5E) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดการคิดเชิงระบบ
ผลการวิจัยพบว่า
1) นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงระบบ เรื่องโครงสร้างของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะความรู้ (5E) มีประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงระบบ เรื่องโครงสร้างของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะความรู้ (5E) มีประสิทธิภาพเท่ากับ82.11/82.17 2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ มีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
3) นักเรียนที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงระบบ เรื่องโครงสร้างของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีทักษะการคิดเชิงระบบ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยนักเรียนมีทักษะการคิดเชิงระบบอยู่ในระดับปานกลาง ( =2.35)
Downloads
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. สืบค้น 1 กรกฎาคม 2565.
กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ขัตติยะ โคตรถา. (2565). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 16(2), 54-62.
จุฑามาส ทวีบุตร. (2561). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะหาความรู้ร่วมกับผังกราฟิกเรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ, สกลนคร, 10 (27),
-108.
ชนะดา วีระพันธ์. (2555). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหาร
ส่วนตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชนาธิป โหตรภวานนท์. (2559). การพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 เรื่องระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลอง
เป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(2), 133-160.
ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐธิดา นาคเสน. (2563). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พลังงานในชีวิตประจำวัน โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ณัฐญา เจริญพันธ์. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7Es) ด้วยเทคโนโลยี
เสมือนจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
นลินนิภา ชัยกาศ. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นร่วมกับเกมกระดานที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พลังงานบนโลกของเรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3.
วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 19(2), 178-186.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2556). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์:
ประสานการพิมพ์.
ปิยวรรณ ศิริสวัสดิ์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องภูมิปัญญาการย้อม ผ้าด้วยสีธรรมชาติที่เน้นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5-6. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
พิทักษ์ ตรุษทิบ. (2551). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและกระบวนการให้บริการของ
กรุงเทพมหานคร : (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิต
พัฒนบริหารศาสตร์.
ลีนวัฒน์ วรสาร. (2561). การพัฒนาชุดฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่ม
ร่วมมือเทคนิค STAD ที่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ความคงทนในการเรียนรู้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ฤทธิญา นามเกต. (2561). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โดยใช้การสอนแบบเสาะหาความรู้ ร่วมกับแผนผังความคิดเรื่องวัสดุรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 10(28), 137-150.
วิมัณฑนา หงส์พานิช. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้วิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการทำงานเป็นทีม
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-
สฤษดิ์วงศ์.
วิมัณฑนา หงส์พาณิช. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการทำงาน
เป็นทีมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
วิมาณ วิชวารีย์. (2560). การพัฒนาความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์โดยใช้การจัด การเรียนรู้
แบบสืบเสาะความรู้แบบ 5Es ร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ดิน หิน แร่ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ศิริวรรณ เอี่ยมประเสริฐ. (2563). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเทคนิค
การใช้คำถามที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมโนทัศน์ในวิชาชีววิทยาของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1), 15-28.
วันทนา งาเนียม. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารบัณฑิตวิจัย, 12(1), 55-67.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2559). รายงานประจำปี 2558
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2560). PISA กับประเทศไทย :
ความจริงที่ต้องยอมรับ. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). การพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นนักประดิษฐ์. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
อนุชา โสมาบุตร. (2556). การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้สารสนเทศและ ICT. สืบค้น 19 มกราคม 2565. จาก https://teacherweekly.
wordpress.com/2013/09/25/information media-and-technology-skills/.
อัจฉรา เหลือผล. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ แบบ 5Es
โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
,9(24), 103-114.
เอกพจน์ เศษฤทธิ์. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับการเรียนรู้
แบบร่วมมือ. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัสกลนคร
Assaraf, O. B. Z., & Orion, N. (2005). Development of system thinking skills in the
context of earth system education. Journal of Research in Science Teaching : The Official Journal of the National Association for Research in Science Teaching, 42(5), 518-560.
Brandstädter, K., Harms, U., & Grossschedl, J. (2012). Assessing system thinking through different concept-mapping practices. International Journal of Science Education, 34(14), 2147-2170.
Eisenkraft, A. (2003). Expanding the 5E model. The science teacher, 70(6), 56.
Llewellyn, D. (2005). Teaching high school science through inquiry : A case study
approach. Corwin Press.
Duran, L. B., & Duran, E. (2004). The 5E instructional model: A learning cycle approach for inquiry-based science teaching. Science Education Review, 3(2), 49-58.
Nababan, N. P., Nasution, D., & Jayanti, R. D. (2019, February). The effect of scientific inquiry learning model and scientific argumentation on the students’ science process skill. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 1155, No. 1, p.012064). IOP Publishing.
Plate, R., & Monroe, M. (2014). A structure for assessing systems thinking. The Creative Learning Exchange, 23(1), 1-3.
Senge, P. M. (1990). The art and practice of the learning organization (Vol. 1). New York : Doubleday.
Sweeney, H. (2010). Academically at-risk Student’ Perceptions of a Constructivist
school Biology Pedagogy. Dissertation Attracts International, 122(93), 39.