การพัฒนานิสิตครูยุคดิจิทัลให้ก้าวทันโลกไร้พรมแดน โดยใช้รูปแบบ CoMeSe
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตลอดเวลา การเรียนรู้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมไม่มีพื้นที่จำกัดเพื่อการเรียนรู้อีกต่อไปอีกทั้งความต้องการเรียนรู้ที่ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันของผู้เรียนมีมากขึ้น การเรียนรู้ในยุคดิจิทัลนี้ เป็นการเรียนรู้ที่
มีการติดต่อสื่อสารกันโดยใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายเข้ามาช่วยในการจัดการศึกษา ครูในยุคใหม่จึงต้องปรับตัวและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามไปด้วย ซึ่งรูปแบบ CoMeSe เป็รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือครูได้เปลี่ยนบทบาทไปจากการสอนที่ยึดครูเป็นศูนย์กลางไปเป็นการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง มีการพัฒนาทฤษฎีการเชื่อมโยงความรู้ขึ้น โดยมีแนวคิดการจัดการเรียน การสอนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้เลือกใช้งานผ่านแพลตฟอร์มต่างๆ มีการโต้ตอบสื่อสารกัน ที่รวดเร็ว สะดวกสบายใช้งานได้ไม่ซับซ้อน สามารถบันทึกข้อมูลและกิจกรรมต่างๆ ไว้ได้ รวมไปถึง ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองตามความสนใจ เพื่อให้นิสิตครูในยุคดิจิทัลนำความรู้ไปพัฒนา ตนเองในวิชาชีพต่อไป
Downloads
Article Details
References
กิตติพงษ์ พุ่มพวง. (2558). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ (Connectivism) ผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์, 10(19). 1-13.
อนุชา โสมาบุตร. (2560). 8 Digital Citizenship: 8 คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดิจิทัล. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2564.จาก https://teacherweekly.wordpress.com.
Downes, S. (2021). Stephen Downes Knoeledge, learning, community. from https://downes.ca/presentation/545
Downes, S. (2012). Connectivism and Connective Knowledge. from Code: http://creativecommons.org/licenses/by-nc-sa/3.0/legalcode
Siemens, G. (2004). Connectivism: A Learning Theory for the Digital Age. from http://www.elearnspace.org/Articles/connectivism.htm