แผนแม่บทศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเชื้อสายไทยมอญรามัญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี

Main Article Content

กฤตย์ตนัย ธารารัตนสุวรรณ
รัตนาภรณ์ จันทรา
อภิภู สิทธิภูมิมงคล สิทธิภูมิมงคล
ธนพัฒน์ ศรีวรรธนะ
ศิวพร ลินทะลึก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
เชื้อสายไทยมอญรามัญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง ต.บ่อสุพรรณ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี และ
2) จัดทำแผนแม่บทศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม เชื้อสายไทยมอญรามัญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
บ้านหนองลิง การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์เอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วใช้วิธีการเชิงสำรวจกับประชากร จำนวน 294 คน และใช้เทคนิคการสนทนา
กลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 12 คน แล้วนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดทำแผนแม่บทศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม เชื้อสายไทยมอญรามัญผลการวิจัยที่สำคัญ พบว่า 1. แผนแม่บทศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม เชื้อสายไทยมอญรามัญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง ประกอบด้วย (1) โครงการแผนพัฒนาด้านกายภาพ และงบประมาณของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง (2) โครงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีเชื้อสายมอญรามัญ (3) โครงการส่งเสริมอาชีพผ้าทอเชื้อสายมอญรามัญให้เป็นสินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว และ 4) โครงการประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง และ 2. แผนหลักในการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม เชื้อสายไทยมอญรามัญ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่ในการบริหารงาน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ธารารัตนสุวรรณ ก. ., จันทรา ร. ., สิทธิภูมิมงคล อ. ส., ศรีวรรธนะ ธ. ., & ลินทะลึก ศ. . (2024). แผนแม่บทศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมเชื้อสายไทยมอญรามัญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านหนองลิง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา, 13(3), 101–109. สืบค้น จาก https://so20.tci-thaijo.org/index.php/JAD/article/view/556
บท
Research Article

References

กรมศิลปากร. (2544). คู่มือถวายความรู้แค่พระสังฆาธิการในการดูแลรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรม.

(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สมานพันธ์.

ยุวดี พ่วงรอด. (2562). แนวทางการจัดทแผนแม่บทชุมชนต่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศภูมิปัญญาและการใช้

ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ป่าต้นน้ขมึนโดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 92-103.

อมตา จงมีสุข, จุลดิศ คัญทัพ. (2564). การพัฒนาแนวทางการดเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ของโรงเรียนใน สังกัดสนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ,12(1), 81-91.

อรไท ครุธเวโช, วสันต์ จันทร์ประสิทธิ์, วรพจน์ ตรีสุข3, วริสา ราชกิจชอบ. (2561). การพัฒนาแผนแม่บทการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดภูเก็ต. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(2), 206-230.

Pattarachit Choompol Gozzoli, Roberto Bruno Gozzoli, (2564). Analysis of Master Plan for the World Heritage Sites in Thailand: A Documentary Research. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 21(2), 2-28.

Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Ed. New York. Harper and Row Publications.

Weaver Martin E.. (1993). Conserving Buildings: Guide to Techniques and Materials. New York: John Wiley & Sons.