การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

เรียม เจริญพล
พิศมัย ศรีอำไพ
ชวนพิศ รักษาพวก

บทคัดย่อ

การพัฒนาหลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษา โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรเพื่อนำมาใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ชุมชนหรือสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดและพัฒนาหลักสูตรให้หลากหลายและสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นและความต้องการของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) สำรวจความต้องการจำเป็นพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 52) พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีคุณภาพตั้งแต่ระดับเหมาะสมมากขึ้นไป 3) ทดลองใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำ รุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 4) ประเมินผลการใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง)กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประศึกษาปีที่ 5 /2 โรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เอกสารประกอบหลักสูตร เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน แผนการจัดการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพระดับมากที่สุด จำนวน 10 แผน มีค่า ( x̅= 4.73,S.D. x̅= 0.40) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ .20 ถึง .53 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .78 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 20 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.25-0.62 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.78 ที่มีต่อการเรียนด้วยหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอนและใช้หลักสูตร ชนิดมาตราส่วน 5 ระดับ จำนวน 35 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.34-0.99 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.96 และ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ


ผลการวิจัยปรากฏดังนี้1) ผลการสำรวจความต้องการจำ เป็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอนภาษาไทย และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า ทุกฝ่ายมีความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนบ้านหนองฉิม(สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5


2) ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ เหมาะสมมากที่สุด ( x̅= 4.68, S.D. x̅=0.19)


3) ผลการทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.61/84.00 และค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรเพิ่มเติม มีค่าเท่ากับ 0.5935 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 59.35


4) ผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักสูตร อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( x̅= 4.66, S.D. x̅= 0.08) และความคิดเห็นของครูผู้ใช้หลักสูตรมีความคิดเห็นว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมในระดับเหมาะสมมากที่สุด( x̅= 4.70, S.D. x̅= 0.46)


โดยสรุป หลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองฉิม (สิงห์จันทร์บำรุง) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (สาระเพิ่มเติม) เรื่อง เพลงกล่อมเด็กอีสาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้พัฒนาขึ้นตามความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้อและเป็นหลักสูตรที่มีองค์ประกอบครบถ้วนและสอดคล้องกันโดยผ่านการประเมินจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระดับเหมาะสมมาก มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถนำไปใช้ในการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

Akpin, Nupid. (2010). Local Curriculum Development in Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled “Bark Dyed Cotton,” Matayomsuksa 4, Tatnarai-wittaya School, by using Mixed Method Research. Plastic Basket Weaving,” Master of Education Thesis, Mahasarakam University.

Bootrad, Siripon. (2005). Local Curriculum Development titled “Traditional Grilled Chicken Formula,” Kamtarawichai District, Mahasarakam Province. Master of Education Thesis in Non-formal Education, Mahasarakam University,

Buasri, Tamrong. (1999). Theory of Curriculum in Design and Development. the 2nd Edition. Tanatat Printing.

Cuozzo, Christopher Charles. (2001). “Collaborative Curriculum Decision Making in Middle School Interdisciplinary Curriculum Development,” Dissertation Abstracts International. 62(4): 1311 - A ; October,

Gaiwayene, Gloria J. Thomas. (2011). A Critical Approach to Louise Erdich’s the Antelope Wife and other Emerging Native Literature as a step towards native ways of learning andteaching, 2002. Available online at http://www. education.mcgill.ca/edmje.htm (2011/07/20).

Hargreaves. (2009). Designing and Implementing Local Curricula. A. Changing times New York, NY, Teacher College Press. P. 31-38.

Jonelaita, Tanyarat. (2006). Local Curriculum Development titled “Plastic Basket Weaving,” Master of Education Thesis in Non-formal Education, Mahasarakam University,

Kammanee, Tidsana. (1985). Program Evaluation: Primary Education Program 1978: Theory and Practice Guideline. Bangkok: Mass.

Kulabkao, Kalaya. (2006). Local Curriculum Development in Foundation of Lanna Language, Basic Lanna Language Unit, Thai Language Learning Substance for Class Level 4 Students. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Utaradid Rajabaht University.

Meksutad, Sunanta. (2005). Development of Skill Practice for English Listening based on Local Curriculum for Matayomsuksa 2 Students, Municipal 2 School, Prasattong Temple, Supanburi Province. Master of Education Thesis in Foreign Language Teaching. Silpakon University.

Nasatien, Kanyarat. (2005). Local Curriculum Development in for Matayomsuksa 4 Students, Kalasin Educationa Service Area 1. Master of Education Thesis. Mahasarakam: Mahasarakam University.

Office of Basic Education Commission. (2009). “Guidelines for Curriculum Management,” in Document of Core Curriuclum of Basic Education 2008. Bangkok: Agriculture Corporative Association of Thailand ltd.

Onowa Mclvor. (2009). Strategies for Indigenous Language Revitalization and Maintenance, 2009. Available online at http://www.literacyencyclopedia. ca (2009/04/03)

Puriroj, Pantima. (2006). Integrated Curriculum Development in Art Learning Substance titled “Memorial Kromluang Choompon Dancing,” for Matayaomsuksa 1 Students, Chonburi Province. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction, Graduate School, Burapa University.

Regina D’Amico. (2011). A multi-media Documentation of Bulgarian Folk Music, 2001-2002. Available online at. http://www.irex.org/> 2011 (2011/07/22) at www.irex.org/system/files/DAmico.pdf

Soijit, Ampon. (2006). Local Curriculum Development, Working, Occupation, and Technology Learning Substance, Titled “Surin Mudmee Silk Weaving,” Class level 3. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction. Mahasarakam: Mahasarakam University.

Suwanson, Kanidta. (2007). Local Curriculum Development in Working, Occupation, and Technology Learning Substance titled “Handwork Havea Brasilliensis dipping with Rubber for Primary School Students. Master of Education Thesis (Curriculum and Instruction). Pranakon-sriayudaya: Pranakon - sriayudaya Rajabaht University.

Tanjinda, Boonreum. (2008). Local Curriculum Development titled “Broom Grass Handwork,” Working, Occupation, and Technology Learning Substance, Pratomsuksa 5. Master of Education Thesis in Curriculum and Instruction. Mahasarakam: Mahasarakam University.

Tinpanja, Eaumdeun. (2008). Local Curriculum Development, Art Learning Substance, titled “Mo-lam-klon,” for Pratomsuksa 3 Studnets, Muangwanpadtanasuksa School, Khon Kaen Province, Master of Education, Khon Kaen: Khon Kaen University.

Utranan, Sa-ngad. (1989). Foundation and Curriculum Development. the 3rd Edition, Bangkok: Mitsayam.

Victor N. Sugbo. (2003). Language policy and local literature in the Philippines, 2003. Available online at http://vnweb.hwwilsonweb.com (2009/10/20)

Wansiri, Yaowanat. (2008). Local Curriculum Development in Thai Language Learning Substance, Suplemmentary Subject T 40202 Local Literature of Taweewattana District, for Mataomsuksa 4 Students, Nawaminrachinutid Satreewittaya School, Bhuddamonton, Bangkok: Master of Education Thesis in Thai Language Teaching, Silapakon University.

Wongboot, Nirachara. (2005). School Curriculum Development in Bannongchim School (Singjanbamroong), Thai Languag