ทำอย่างไรให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์?

Main Article Content

กัญญารัตน์ อรรคอำนวย
ประสาท เนืองเฉลิม

บทคัดย่อ

ความหลากหลายของข้อมูลข่าวสารในยุคที่มีความผันผวนทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยจำแนกแยกย่อยข้อมูลต่างๆ โดยอาศัยศิลปะการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์เปรียบเสมือนเป็นรากของการคิดในมิติอื่นๆ ที่จะช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่างๆ ได้ตามความเป็นจริงอย่างลุ่มลึก รู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไป และนำไปสู่การคิดตัดสินใจที่แม่นยำและสามารถแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Articles

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ชาตรี สำราญ. (2548). สอนให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์อย่างไร. สานปฏิรูป, 8(83): 40-41.

ดิลก ดิลกานนท์. (2534). การฝึกทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ประสาท เนืองเฉลิม และ ฤทธิไกร ไชยงาม. (2559). การตั้งคำ ถามตามการจำแนกจุดมุ่งหมายทางการศึกษา. วารสารบริหารและนิเทศการศึกษา, 9(1): 7-12.

ประสาท เนืองเฉลิม. (2561). หลักการศึกษาเบื้องต้น. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

วนิช สุธารัตน์. (2547). ความคิดและความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น.

วีระ สุดสังข์. (2550). การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สุวิทย์ มูลคำ . (2550). กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรงุเทพฯ: ภาพพิมพ์.

Aizikovitsh-Udi, E., & Cheng, D. (2015). Developing Critical Thinking Skills from Dispositions to Abilities: Mathematics Education from Early Childhood to High School. Creative Education, 6(4): 455.

Anderson, L.W. and Krathwohl, D.R. (eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives. New York: Addison Wesley Longman.

Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, the Classification of Educational Goals–Handbook I: Cognitive Domain. New York: David MacKay Company.

Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. 3rd ed. New York: McGraw-Hill.

Gotoh, Y. (2017). Development of Critical Thinking with Metacognitive Regulation and Toulmin Model. Proceeding of the 14th International Conference on Cognition and Exploratory Learning in Digital Age (CELDA 2017). 281-285.

Holmes, N.G., Wieman, C.E. and Bonn, D.A. (2015). Teaching Critical Thinking. Proceedings of the National Academy of Sciences, 112(36): 11199-11204.

Huang, M.Y., Tu, H. Y., Wang, W.Y., Chen, J.F., Yu, Y.T. and Chou, C.C. (2017). Effects of Cooperative Learning and Concept Mapping Intervention on Critical Thinking and Basketball Skills in Elementary School. Thinking Skills and Creativity, 23: 207-216.

Marzano, R.J. (2001). Designing A New Taxonomy of Educational Objectives. California: Corwin Press.