ทำไมจึงต้องมีการปรับตัว?

Main Article Content

ลักขณา สริวัฒน์

บทคัดย่อ

ทุกคนนอกจากมีความต้องการอันเกิดจากแรงผลักภายในตนเองแล้วยังมีความต้องการอันเกิดจากสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ทางสังคมที่ตนอาศัยอยู่ เช่นมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและสังคมนับตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน สังคม และชุมชน โดยมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นปัจจัยกำหนดแนวทางการประพฤติปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ เพื่อไม่ให้ขัดแย้งกันแต่เป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อความสงบและประโยชน์สุขทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ด้วยเหตุนี้แต่ละคนจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการส่วนตนได้ทุกอย่างดังใจปรารถนา จึงเกิดความรู้สึกผิดหวัง วิตกกังวลใจ และเครียดซึ่งก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคเพียงแต่จะมากหรือน้อยต่างกันไปตามพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ความเครียดก่อให้เกิดความกดดันภายในจิตใจอันเป็นอุปสรรคขัดขวางการดำเนินชีวิตทำให้ไม่เป็นสุข ด้วยเหตุดังกล่าวจึงคนเราจึงต้องมีการปรับตัวเพื่อคลายความรู้สึกเครียดหรือคับข้องใจให้บรรเทาลงอันจะช่วยรักษาความสมดุลแห่งชีวิตไว้ได้โดยปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้อย่างมีความสุขนั่นเอง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Articles

References

กันยา สุวรรณแสง. (2535). การพัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.

นิภา วิทยายน. (2540). การปรับตัวและบุคลิกภาพในจิตวิทยาเพื่อการศึกษาและชีวิต. กรุงเทพฯ: โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์.

ลักขณา สริวัฒน์. (2544). สุขวิทยาจิตและการปรับตัว. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ลักขณา สริวัฒน์. (2549). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์. (2545). จิตวิทยาการปรับตัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

สุชา จันทน์เอม. (2540). จิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุภาพรรณ โคตรจรัส. (2545). จิตวิทยาเพื่อคุณ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cole, P.G. and L.K. Chan. (1987). Teaching Principles and Practice. New York.: Prentice Hall. Gordon, J.E. (1991). Personality and Behaviours. New York: McMillan.

Maslow, A.H. (1970). Motivation and Personality. 2nd ed. New York: Viking Press.

Mayer, Roy. (1976). Applying Behavior-Analysis Procedures with Children and Youth. New York: Holt, Rinehart.