กลวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา กรณีศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)

Main Article Content

รังษวุฒ มาตวังแสง

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษามีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในระบบการศึกษาของไทยในปัจจุบัน จึงต้องมีการพัฒนาศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในยุคของประเทศไทย 4.0 การที่จะสร้างให้นักเรียนประถมศึกษามีศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษได้ตามจุดมุ่งหมาย ครูผู้สอนต้องใช้กลวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาภาษาอังกฤษที่หลากหลายและแตกต่างกันตามความแตกต่างระหว่างบุคคล โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม) เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่มีชื่อเสียงทางด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาภาษาอังกฤษที่ประสบผลสำเร็จ โดยจะเห็นได้จากผลการวัดระดับชาติ (O-Net) ซึ่งจะมีนักเรียนที่สามารถสอบได้คะแนนเต็ม 100 คะแนนทุกๆ ปีการศึกษา (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 2562) บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอกลวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม) โดยครอบคลุมทฤษฎีการเรียนรู้ภาษา รวมทั้งกลวิธีการเรียนรู้ภาษาซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนภาษาอังกฤษและจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่จะได้เข้าใจในการใช้กลวิธีการเรียนรู้ภาษามากขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรมอาเซียน. (2555). ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : กระทรวงการต่างประเทศ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แบบฝึกประกอบการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ศรีวิไล ดอกจันทร์. (2536). การสอนภาษาไทยในฐานะ ภาษาต่างประเทศ. (เอกสารสัมมนา). 19 - 20 สิงหาคม.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2562). ออนไลน์: http:// www.niets.or.th. เข้าถึงเมื่อ 1 ธันวาคม 2562.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2557). ออนไลน์: http:// www.niets.or.th. เข้าถึงเมื่อ 26 ตุลาคม 2557.

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2532). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). กิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.

Barkley, E.F. (2010). Student engagement techniques: A handbook for college teachers. San Francisco, CA: Jossey- Bass.

Fink, L.D. (2003). Creating significant learning experiences: An integrated approach To Designing College Courses. San Francisco, CA: Jossey – Bass.

Janice, Light and David, McNaughton. (2014). “Communication: A New Definition for a New Era of Communication?.” The Pennsylvania State University, Communication Science and Disorder, 30: 1-18.

Kolb, D.A. (1976). Learning Style Inventory: Technical Manual. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice Hall.

Kolb, D (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. Englewood Cliffs : Prentice Hall.

Nafisa, T. Burganova and Akzam, A. Valeev. (2010). “Development of Technical College Students’ Communicative Competence”. Canadian Center of science and Education Journal, 94: 116-136.

Oxford, R. (1990). Language learning strategies: What every teacher should know. Boston. MA. : Heinle and Heinle.

Raimes, A. (1987). Techniques in Teaching Writing. Oxford: Oxford University Press. Spratt, M., Pulverness, A. and Williams, M. (2007). The TKT Teaching Knowledge Test Course. London: Cambridge University Press.

Stern, H. H. (1983). Fundamental concepts of language teaching. Oxford: Oxford University Press.

West, M. (1953). A General Service List of English Words. London: Longman.