สมรรถนะการนิเทศของศึกษานิเทศก์
Main Article Content
บทคัดย่อ
สมรรถนะการนิเทศ เป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ ซึ่งเป็นผลมาจาก ความรู้ทักษะ คุณลักษณะส่วนบุคคล ที่ส่งผลให้ศึกษานิเทศก์ประสบผลสำเร็จในการปฏิบัติงาน มีผลงานสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนดหรือโดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงาน สมรรถนะการนิเทศของศึกษานิเทศก์ประกอบด้วย ด้านความรู้ในการนิเทศ ซึ่งได้แก่ ความรู้ด้านการพัฒนาหลักสูตร ความรู้ด้านการนิเทศการศึกษา ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ความรู้ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศทาง การศึกษา และความรู้ด้านการวิจัยทางการศึกษา ด้านทักษะการนิเทศ ได้แก่ ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการเป็นผู้นำ ทักษะด้านกระบวนการกลุ่ม ทักษะด้านการจัดการนิเทศ ทักษะด้านการประเมินผล และทักษะการสื่อสาร ด้านคุณลักษณะส่วนตัวของผู้นิเทศ ได้แก่ การมีบุคลิกภาพที่ดี การมีคุณธรรมจริยธรรม การมีเจตคติที่ดีต่อการนิเทศ และด้านแรงจูงใจในการนิเทศ
Downloads
Article Details
References
คุรุสภา. (16 พฤษภาคม 2550). ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตาจรรยาบรรณของวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2560, จาก http://law.longdo.com/law/631/sub43894
คุรุสภา (19 กันยายน 2556). ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2560,จาก http://site.ksp.or.th/download.php?site=kspknowledge&SiteMenuID=4201
ดารณีย์ พยัคฆ์กุล. (2559). การพัฒนาสมรรถนะการนิเทศการศึกษาสู่ความเป็น ศึกษานิเทศก์มืออาชีพ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลันฟาร์อิสเทอร์น มหาวิทยาลันฟาร์อิสเทอร์น, 10(4): 161-173.
บุญเหลือ บุบผามาลา. (2558). ตัวแบบการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตตรวจราชการที่ 10 ของกระทรวงศึกษาธิการ.วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ปรีชา นิพนธ์พิทยา. (2537). มิติใหม่การนิเทศการศึกษากับการพัฒนา. กรุงเทพ ฯ:ธีรพงษ์การพิมพ์.
รุจิรา ทองวุฒิ. (2556). ความคาดหวังของครูต่อบทบาทของศึกษานิเทศก์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น
รุ่งชชัดาพร เวหะชาต. (2557). การนิเทศการศึกษา. สงขลา: เทมการพิมพ์.
วชิรา เครือคำ อ้าย. (2558). การนิเทศการศึกษา. เชียงใหม่: ส. การพิมพ์.
วัชรา เล่าเรียนดี (2550). การนิเทศการสอน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโค้ช การพัฒนาวิชาชีพ: ทฤษฎี กลยุทธ์สู่การปฏิบัติ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2549). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
สุทัศน์ นำพูลสุขสันต์. (2546). ความสำคัญและประโยชน์ ของสมรรถนะ. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒน อินเตอร์พริ้น. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). การพัฒนาศึกษานิเทศก์แนวใหม่ เอกสารการอบรมตามหลักสูตรการพัฒนาศึกษานิเทศก์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). การเสริมสร้างภาวะผู้นำ ทางวิชาการเพื่อการนิเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือการฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษาหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2549). มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2549). การศึกษาภาพรวมผลการประเมินสมรรถนะหลักทางการบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาการ. (2555). ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศในช่วงการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 พ.ศ. 2552 – 2561. กรุงเทพ: พริกหวานกราฟฟิค.
อดุลย์ วงศ์ก้อม. (2552). รูปแบบการนิเทศของสำนักงานเขตื้นที่การศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปรด. มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.