การบริหารสถานศึกษาสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหาร ตามความ กิดเป็นของระโรงเรียนมรมมีกขาในถังหวัดประจวบศีรีขันธ์ สังกัดสำนักงาน

Main Article Content

มณฑาทิพย์ โกณฑา
กัลยมน อินทุสิต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหาร ตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 จำแนกตามวุฒิการ ศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครู โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 จำนวน 269 คน ใช้การกำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ.05 จากการเปิดตารางสำเร็จรูปของ Cohen โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratfied Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire)มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.6 ขึ้นไป และมีค่าความเชื่อ มั่น (Reliablity) ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (a-Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)


ได้คะแนนเท่ากับ 0.961 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (Htest) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง


6ãg? (One Way Analysis of Variance)


ผลการวิจัยพบว่า


1) ครูมีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก


2) ครูที่มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 ไม่แตกต่างกัน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. (2561). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. (2562). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. 2563). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

กลุ่มบริหารวิชาการ, โรงเรียนทับสะแกวิทยา. (2563). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562. ประจวบคีรีขันธ์: โรงเรียนทับสะแกวิทยา.

ชุลีพรเกลี้ยงสง. (2556). กลยุทธ์การพัฒนาวัฒนธรรมองค์การเพื่อส่งเสริมการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

ณตะนาว เนียมอ่อน. (2561). การส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553), การวิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สุวีริยสาสน์.

ปราณี ไชยภักดี และรุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2561). การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยทักษิณ.

พรพรรณ พิมพา. (2561). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ ผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายลาดใหญ่ จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2564 จาก http://acad.vru.ac.th/acad_journal__online/journalFile/datajournaP393.pdf.

วิจารณ์ พานิช. (2554), วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชั่น จำกัด.

วิจารณ์ พานิช. (2560). สอนอย่างไรในศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2560,annhttp://elc.psu.ac.th/elcpsu_2012/phocadownload/ppt_seminar/130325_teach_in_21/130325_teach_in_21.pdf.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สรุปผลการดำเนินงาน 9 ปี ของการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ.2542-2551). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางปฏิรูปการ ศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560), แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ:พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ:สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.

อโณชา พลวงนอก. (2562). ปัญหาการดำเนินงานโครงการพัฒนาครูด้วย PLC ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 31-39. สืบค้นจาก https://jeal.snru.ac.th/Files/Article/763-

ArticleTextFile-20200629204749.pdf.

อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2558). กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับครูโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cohen, Louis. Lawrence, Manion. & Keith Morrison. (2011). Research Methods in Education.

* Edition. Routledge U.S.A.

Karo, Danaisak & Petsangsri, Sirirat. (2021). The effect of online mentoring system through

professional learning community with information and communication technology via cloud computing for pre-service teachers in Thailand.

Education and Information Technologies, 26(1): 1133-1142. Doi: 10.1007/s10639-020-10304-2.